ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (HBM) นี้ เป็นทฤษฎีทางจิตวิทยาที่ใช้อธิบายพฤติกรรมสุขภาพ รวมทั้งพฤติกรรมของมนุษย์อื่นๆ อีกหลายอย่าง เช่น ทำไมคนเราชอบแอบเปิดดูคลิปโป๊ หรือทำไมหลายคนรู้สึกว่าดูคลิปโป๊เป็นเรื่องต้องห้าม ซึ่งในระยะแรกนี้มีแนวคิดซึ่งถือเป็นหลักสำคัญ 4 ประการคือ
1.การรับรู้ความร้ายแรง (perceived seriousness) ความร้ายแรงของโรคอาจสามารถพูดและอธิบายได้ไม่ยาก เช่น การให้ความรู้แก่นักดื่มว่า การดื่มเหล้าจะทำให้ตับแข็ง กระเพาะอาหารอักเสบ ความจำเสื่อม อย่างไรก็ตาม ผู้ที่เคยให้ข้อมูลเหล่านี้แก่นักดื่มคงทราบดีว่า การพูดคุยแบบนี้มิได้ทำให้พฤติกรรมการดื่มเปลี่ยนแปลงไปนัก เรื่องของพฤติกรรมสุขภาพนี้ขึ้นอยู่กับ ”ความเชื่อ” ของคนคนนั้นด้วย การรับรู้ความร้ายแรงที่ “โดนใจ” เท่านั้นจึงจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนได้ ดังนั้น การพูดถึงความร้ายแรงและความทุกข์ทรมานของคนโรคตับแข็ง การทำงานไม่ได้และเป็นภาระอาจ “โดนใจ” นักดื่มที่มีญาติเป็นโรคตับแข็งมาแล้ว
2.การรับรู้ความเสี่ยงของตนเอง (perceived susceptibility) เมื่อคนเรารับรู้ว่าตนเองมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ปัญหา ความไม่สบายบางอย่าง ก็จะทำให้ต้องหันมาสนใจและดูแลตัวเองมากยิ่งขึ้น ยิ่งรับรู้มาก่อนว่าความร้ายแรงของปัญหาที่อาจเกิดได้และต้องมีความเสี่ยงมากเท่าไร ก็จะทำให้แรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนตนเองสูงขึ้น แต่บางครั้งความเสี่ยงก็เร้าใจ เหมือนการเปิดดูคลิปโป๊ดูในที่ทำงานนั่นแหละ
3.การรับรู้ประโยชน์ (perceive benefit) การรับรู้ประโยชน์เป็นการผลักดันพฤติกรรมสุขภาพที่ดีมาก แน่นอนว่า เราควรได้ออกกำลังกายหากเรามีความเชื่อว่านี่คือสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อระบบหัวใจและกระดูก ในทางตรงข้ามเราคงไม่ทาครีมกันแดด หากเราไม่มีความเชื่อว่ามันจะช่วยป้องกันมะเร็งผิวหนัง (หรือป้องกันความดำในกรณีคนเอเชีย) ได้ หรือถ้าเรารู้ว่าดูคลิปโป๊มีประโยชน์ต่อการสืบพันธุ์เราคงหยุดดูไม่ได้เลยล่ะ
4.การรับรู้อุปสรรค (perceive barrier) การรับรู้อุปสรรคจัดว่าเป็นเรื่องสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การรับรู้อุปสรรคที่ว่านี้หมายถึงการรู้ตัวว่าผลการชั่งน้ำหนักกำไรขาดทุนของพฤติกรรมใหม่นั้นเป็นอย่างไร เมื่อเทียบกับพฤติกรรมเก่า นี่คือเหตุผงที่หลายคนเลิกแอบดูคลิปโป๊นอกบ้าน เพราะมันส่งผลเสียมากกว่าผลดี หรือเหตุผลอื่นๆที่ทำให้รู้สึกไม่คุ้มค่าที่จะเสี่ยงจึงหยุดพฤติกรรมนั้นไป